วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558
บทที่ 5 สมบัติของของเหลว
ของเหลวมีปริมาตรคงที่ เนื่องจากโมเลกุลของของเหลวอยู่เป็นกลุ่ม ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ โดยมีระยะห่างระหว่างกลุ่มเล็กน้อยและของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส จึงทำให้โมเลกุลของของเหลวเคลื่อนที่ได้ระยะทางใกล้ ๆ ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระเหมือนแก๊ส
อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 สมบัตของแก๊ส
แก๊สมีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ บรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างและปริมาตรตามภาชนะนั้น เพราะแก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก จึงทำให้อนุภาคของแก๊สสามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ
อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 สมบัติของของแข็ง
ปริมาตรคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดภาชนะที่บรรจุมีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะมีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบสามารถระเหิดได้
อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 การคำนวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ เราเขียนแสดงได้ด้วยสมการเคมี สิ่งที่แสดงอยู่ในสมการเคมีจะประกอบด้วยสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ รวมทั้งภาวะต่าง ๆ ของการเกิดปฏิกิริยาด้วย สมการเคมีจะช่วยให้เราคิดคำนวณค่าต่างๆ ของการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น
อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 สมการเคมี
สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้น (อาจเป็นปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้) เพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ โดยเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ และสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุที่อยู่ในสารประกอบ
อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 สารละลาย
สารละลาย (solution) หมายถึง สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ ตัวทำละลาย (solvent) ตัวละลาย (solute)
อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 มวลอะตอม
มวลอะตอม คือ
มวลเปรียบเทียบที่บอกให้ทราบว่ามวลของธาตุ 1 อะตอมหนักเป็นกี่เท่าของมวลของธาตุมาตรฐาน 1 อะตอมมวลของธาตุ 1 อะตอม คือ
มวลที่แท้จริงของอะตอมนั้น ๆ
อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)